Virtual Battery Plant : โรงไฟฟ้าสเหมือน ที่ ไม่ เหมือนโรงไฟฟ้า
หากเอ๋ยถึงโรงไฟฟ้าแล้วนั้น การจะก่อสร้างโรงไฟฟ้าสักแห่งนั้นทุกคนคงกลัวกับการมีบ้านหรืออยู่ข้างโรงไฟฟ้า อย่างแน่นอน แต่จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถอยู่รวมกับโรงไฟฟ้า หรือ แหล่งจ่ายไฟได้อย่างไม่อย่างเย็น
Virtual Battery Plant คือการเอาเทคโนโลยี battery ที่เป็นแบบ ESS ไปตั้งกระจายในพื้นที่ต่างๆ แทนความจำเป็นที่ต้องไปสร้างโรงไฟฟ้าจริงๆ ในพื้นที่นั้นๆ
ซึ่งการมีโรงไฟฟ้าที่เยอะนั้นทำให้ระบบไฟฟ้าภาพรวมดีกว่าการมีโรงไฟฟ้าที่ผลิตแล้วอยู่ไกลจากแหล่งการใช้ไฟฟ้า, การมีโรงไฟฟ้าที่ไกลจากแหล่งที่ใกล้ทำให้ระบบ ไฟฟ้าภาพรวมเกิด ความเสี่ยงเรื่องของ ระบบสายส่ง,ระบบแรงดันของสายส่ง และ การที่โรงไฟฟ้าเกิดปัญหา ทำให้ระบบไฟฟ้าภาพร่วมมีการดับลงไปเป็นลงกว้าง
การผลิตไฟฟ้าโดยทั่วไปแล้วนั้นจำเป็นต้องผลิตกำลังการผลิตไฟฟ้าให้เกินกว่าความต้องหารเพื่อทีจะป้องกันเวลาที่เกิดเหตุผู้ใช้ไฟฟ้า เปิดใช้งาน หรือ run ระบบใช้งานฉุกเฉินจะได้ไม่กระทบกับผู้ใช้งานทั้งระบบ
ซึ่งในการผลิตไฟฟ้าที่เกิดนั้น wast ennergy จะถูกนำไปใช้ในการสูบน้ำจากท้ายเขื่อนกลับไปบนเขื่อนซึ่งกระบวนดังกล่าวเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ แต่การใช้ energy ไปกับการสูบน้ำนั้น หาก ต้องการนำพลังงานดังกล่าวกลับมาใช้แล้วนั้น ration จะต่ำกว่า 1
ซึ่งการผลิตไฟฟ้ามาเป็น stand by eletric เยอะๆ แล้วนั้นทำให้มี wast ที่เสียไปค่อนข้างเยอะๆ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นที่เป็นที่พูดถึงกันมาอย่างยาวนาน คือการใช้เทคโนโลยี battery เพื่อมาเก็บ wast enenergy ใน ระบบสาย ส่ง และ ปล่อยออกมาเมื่อถึงเวลาต้องการใช้
ซึ่งข้อดี ของการใช้ battery ในการเก็บ wast energy แล้วนั้นข้อดี คือการที่ระบบ สามารถ response กับการใช้ไฟฟ้าที่ fluctuate ได้อย่างไม่อยากเย็น เนื่องจาก ระบบ battery นั้นสามารถ discharge ตัวเองได้ในทันที่
การใช้ระบบ ESS นั้นปัจจุบันได้มีการเริ่มใช้งานจริงแล้วใน หลายๆ พื้นที่ไม่ว่าจะเป็น hawai หรือ south austalia ซึ่ง Application การใช้งานนั้นจะค่อนข้างต่างกัน
Kauai in Hawaii : อย่างที่ทุกคนทราบ Hawaii ได้ชื่อว่าเป็นเกาะที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของ USA แต่การผลิตไฟฟ้าส่วนใหญ่นั้นยังเป็นการใช้ diesel generator ในการผลิตพลังงาน เพื่อสนับสนุนการใช้ไฟฟ้าบนเกาะ ได้มีการคิดตั้งระบบ ESS 52 MW และ Solar farm ขนาด 13 MW สำหรับการลดการใช้พลังงานจาก fossil fuel ซึ่งต้องนำเข้ามาที่เกาะทางเรือ และ มีต้นทุนที่สูง ซึ่งการติดตั้งระบบดังกล่าวมีจุดมุงหมายเพื่อลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของเกาะทั้งระบบ
South Australia : โครงการนี้เกิดขึ้นจากการที่ South Australia มีปัญหาเรื่องกำลังการผลิตไฟฟ้าที่ไม่มั่นคงเนื่องจาก พึ่งพากับการใช้ renewable energy มากจนเกินไฟฟ ทำให้ demand และ Supply ไม่สามารถ ขนาดกันได้ ซึ่งโครงการที่ Sounฃth Australia นี้เป็นการติดตั้งระบบ ESS ที่กำลังกักเก็บ 100 MW ซึ่งเป็นการติดตั้งระบบ เพื่อให้มา support เรื่องของความถี่ และ ป้องกันไฟฟ้าดับในวงกว้าง ซึ่งระบบดังกล่าวใช้เพื่อถ่วงเวลาให้มากพอที่ระบบ ไฟฟ้าหลักของโรงไฟฟ้า สามารถ ผลิตไฟฟ้า และ เพิ่มความถี่ขึ้นมาได้
ถึงแม้ว่าเราทุกคนกำลังเอ๋ยถึงความเป็นไปได้ในการใช้รถยนต์ไฟฟ้า และ การหันไปใช้พลังงานทางเลือกแล้วนั้นแต่อย่างหนึ่งที่เราทุกคนต้องยอมรับคือการที่ พลังงานทางเลือกแถบทั้งหมดล้วน ไม่สามารถ ผลิตไฟฟ้าได้ตลอดเวลา หรือ ไม่สามารถคาดการณ์ พฤติกรรมได้ ( ยกเว้นพลังงานน้ำจากเขื่อน )
แล้ว Virtual Battery Plant ต่างจาก ESS ยังไง Virtual Battery Plant นั้นคือการเอา ESS ที่กล่าวข้างต้นไปว่างกระจายตัวในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ และควบคุมระบบจากส่วนกลางเพื่อที่เดียว
โดย Virtual Battery Plant นั้นมีการเริ่มจะทดลองใช้จริงแล้วที่ UAE ซึ่งระบบดังกล่าวคือการนำ ESS , Solar cell หรือ wind turbine ไปวางกระจายตามส่วนต่างๆของประเทศเพื่อให้ระบบดังกล่างสามารถ operateได้ โดยESS ทุกแห่งจะมีการ link การควบคุมกลับมาที่ส่วนกลางเพื่อที่เดียว
ซึ่งระบบนี้จะช่วยให้การควบคุม ความเสถียรและคุณภาพของไฟฟ้ามีความนิ่งมากกว่าระบบทั่วไป ที่มีต้นทางการผลิตไฟฟ้าเพียงแห่งเดียว
ซึ่งอนาคตของ ESS ในประเทศไทยนั้นก็น่าสนใจมากไม่น้อยเพราะผู้เล่นหลายๆ รายในประเทศเริ่มหันมาลงทุนใน ESS teachnology มากขึ้นเพื่อรองรับการเติบโตธุรกิจไฟฟ้าที่มีการโตมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนของบริษัท Banpu หรือ EA ที่ล้วนมี goal ของการเป็นผู้ผลิต battery สำหรับระบบ ESS ทั้งสิ้น
ก็ต้องรอดูกันต่อไป ว่าต้น ESSจะลงมาได้ต่ำขนาดนั้น ยิ่งเทคโนโลยี battery ลงมาต่ำนั้นเท่ากับว่าต้นทุน รถไฟฟ้า หรือ การที่เราจะเห็นประเทศไทยมาใช้พลังงานทางเลือก 100% ก็จะเร็วขึ้นตามไปด้วย